The Basic Principles Of รีวิวเครื่องเสียง

ไปติดตั้งไว้ที่ผนังด้านหลังตำแหน่งวางลำโพง และผนังด้านข้างลำโพงซ้าย–ขวาดูแล้ว ผมพบว่า ตัวแผง

บันทึกเสียงชัดมากๆ เสียงรบกวนน้อยกว่ารุ่น tx650 ขนาดกะทัดรัดมาก ใครมองหาอยู่แนะนำเลยครับ

ใช้คันโยกยกแขนเพื่อลดระดับโทนอาร์ม โทนอาร์มจะลดระดับลงอย่างช้า ๆ จนกว่าสไตลัสจะสัมผัสบันทึกและเริ่มเล่น

ตัวนี้แล้วเปิดเพลงเดิมๆ ฟัง เสียงที่ได้ยินมันเปลี่ยนไปเยอะมาก! อย่างแรกที่สัมผัสได้คือความคึกคัก กระฉับกระเฉง รู้สึกได้ว่าเสียงที่ได้ยินมีพลังมากขึ้น คล้ายเปลี่ยนแอมป์ที่ใหญ่ขึ้น อิมเมจของชิ้นดนตรีมีความชัดเจนมากขึ้น เข้มขึ้น แต่ส่วนที่ลดน้อยลงคือหางเสียงที่เป็นความกังวานของฮาร์มอนิกจะมีลักษณะที่ลาดชันมากขึ้น คือระยะเวลาของปรากฏการณ์ เกิดขึ้น–คงอยู่–ดับไป ของแต่ละเสียงหดสั้นลงกว่าตอนเสียบผ่านปลั๊กรางธรรมดานิดหน่อย ซึ่งอาการนี้ส่งผลมากในย่านทุ้ม คือทำให้เสียงทุ้มมีลักษณะที่กระชับมากขึ้น ตึงตัวมากขึ้น หัวเสียงเร็ว เก็บตัว และขมวดรวบหางเสียงไว ใครที่ใช้ลำโพงขนาดใหญ่ที่รู้สึกว่าเบสหลวมๆ ไม่เก็บตัว หัวเสียงเบสไม่คม หางเสียงอื้ออึง ใช้เพาเวอร์ คอนดิชั่นเนอร์ตัวนี้แล้วจะได้เสียงที่เร็วกระชับมากขึ้น แต่คนที่ใช้ลำโพงเล็กๆ อาจจะรู้สึกว่าเบสน้อยลง และอาจจะรู้สึกว่าเสียงมีลักษณะพุ่งและเค้นนิดๆ เมื่อฟังเทียบกับตัวใหญ่กว่าอย่าง

เคยไหมครับในช่วงเวลาเรียนหรือช่วงการประชุมที่จำเป็นจะต้องจำสาระสำคัญเพื่อใช้ในการนำไปสอบหรือทำงาน แต่เราเกิดปัญหาขึ้นเพราะไม่สามารถจดบันทึกได้ทัน จนทำให้เกิดปัญหาตามมาคือการได้คะแนนน้อยลงหรือทำงานไม่ได้ตามบรีฟ ซึ่งปัญหาเหล่านี้จริง ๆ แล้วแก้ได้ไม่ยากเลยครับ โดยหลายคนอาจจะใช้โทรศัพท์ในการบันทึกเสียงกัน แต่ใช่ว่ามือถือจะเหมาะกับการใช้งานตลอด เพราะมือถือหลายรุ่นอาจมีขนาดที่ค่อนข้างใหญ่และอาจมีข้อจำกัดในเรื่องของขนาดไฟล์

ทำงานราบรื่น เรียนสะดวก ด้วยเครื่องบันทึกเสียงดีๆ ที่มาพร้อมฟังก์ชั่นที่หลากหลาย

การปรับจูนสภาพอะคูสติกของห้องทั่วไปให้มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการฟังเพลงด้วยชุดเครื่องเสียงที่ใช้ลำโพงสองตัวทำงานร่วมกันในระบบเสียงสเตริโอ มีหลักการคร่าวๆ ก็คือ พยายามทำผนังฝั่งตรงข้ามกันให้มีสภาพอะคูสติกที่มีลักษณะการซับ/สะท้อนคลื่นเสียงแบบเดียวกัน ในทางปฏิบัติก็คือ เลือกใช้วัสดุปรับสภาพอะคูสติกแบบเดียวกัน โดยติดตั้งในลักษณะที่เป็น

* ทดลองย้ายสายไฟเอซีจากเพาเวอร์แอมป์ออกไปเสียบตรงเข้าปลั๊กผนัง เสียงโดยรวมดีขึ้นพอสมควร อาการเค้นๆ ลดน้อยลงมาก และการตอบสนองความถี่ต่ำดีขึ้น ฐานเบสแผ่ตัวมากขึ้น ใครใช้เพาเวอร์แอมป์ หรือแม้แต่อินติเกรตแอมป์ที่มีกำลังขับเยอะๆ แนะนำให้ทดลองแยกแอมป์ไปเสียบตรงเข้าผนังแล้วฟังเทียบดู

จะทำหน้าที่ช่วย “ดัน” เสียงกลาง–แหลมบริเวณตรงกลางของเวทีเสียง (พื้นที่ระหว่างลำโพงซ้าย–ขวา) ให้ลอยขึ้นมา ไม่จมลงไป ซึ่งวิธีนี้จะช่วยทำให้ได้รูปวงเวทีเสียงที่ดีกว่าไม่ทำอะไรเลย เนื่องจากสภาพห้องลักษณะที่ซ้าย–ขวาเปิดโล่งจะไม่มีการสะท้อนของผนังซ้าย–ขวาเข้ามาช่วยเสริมความถี่ การใช้แผ่นดิฟฟิวเซอร์ไปติดตั้งไว้ตรงกลางบนผนังด้านหลังตำแหน่งวางลำโพงจะช่วยเพิ่มมวลของเสียงในย่านกลาง–แหลมให้มีความเข้มข้นมากขึ้น

In the event you disable this cookie, we will not be in the position to save your preferences. Because of this whenever you รีวิวเครื่องเสียง take a look at this Web page you must allow or disable cookies once again.

เมื่อเทียบกับเสียบผ่านปลั๊กรางสามร้อยบาท

เข้าไปติดตั้งเพื่อลดการสะท้อนของผนังลง แต่ยังคงให้ประกายเสียงแหลมกับเสียงกลางคงอยู่ระดับหนึ่ง

การบันทึกเสียงให้ได้ความคมชัดที่สุด ควรเลือกอัดเสียงในห้องที่มีความเงียบ สงบ ปราศจากเสียงรบกวนจากภายนอก และควรอยู่ห่างจากอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าอื่น ๆ เช่น โทรศัพท์มือถือ โทรทัศน์ แอร์ ฯลฯ และให้วางเครื่องบันทึกเสียงใกล้กับต้นตอของเสียงที่เราต้องการอัดหรือคนที่เราต้องการสัมภาษณ์ อย่าลืมหันทิศทางของไมค์ไปทางต้นเสียงด้วย

ด้วยคุณสมบัติที่อัดแน่นมาในอินทิเกรตแอมป์รุ่นนี้ ทำให้มันสามารถใช้งานเฉพาะส่วนขยายเสียงร่วมกับชุดเครื่องตามปกติเหมือนอินทิเกรตแอมป์ทั่วไปก็ได้ ขณะเดียวกันมันยังตอบโจทย์การฟังเพลงแบบสตรีมมิงคุณภาพสูง ไม่ว่าจะเป็นการสตรีมเพลงจากมิวสิกเซิฟเวอร์ หรือจากผู้ให้บริการออนไลน์ทั้งหลาย

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *